วันอาทิตย์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2554

กิจกรรม 31 มกราคม - 4 กุมภาพันธ์ 2554 คะแนน 120 คะแนน





ข้อ 45 ตอบ 4. 25 s
  อัตราเร็วของรถยนต์คงที่มา 20 เมตรต่อวินาที และระยะทางที่รถยนต์เคลื่อนที่ได้ 500 เมตร และโจทย์ต้องการหาเวลาที่รถยนต์เคลื่อนที่เป็นเวลาเท่าใด
เราสามารถใช้สูตรการเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ได้เลย
                                                              
                       เมื่อ v = 20 m/s  ,s = 500 m , t = ?  s
จะได้    20 = 500/t
t   = 500/20
t  = 25 วินาที
ดังนั้นคำตอบคือข้อ ง.



ข้อ 46 ตอบ 4.
จากสมการ T=2π√(l/g) จะได้ว่า T เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ √l และ T2 เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ l ดังนั้นคำตอบเป็น ข้อ ก. ครับ
2. การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงตำแหน่งสูงสุดอัตราเร็วของวัตถุจะเป็นอย่างไร



ข้อ 47 ตอบ 4.สนามฟ้าที่ A มีค่าเท่ากับสนามไฟฟ้าที่ B
      สนามไฟฟ้าจะมีทิศพุ่งออกจากประจุบวกและประจุลบเสมอ ประจุเหมือนกันอยู่ใกล้กันจะผลักกัน และประจุต่างกันจะเกิดแรงดูดกันครับ ส่วนสนามไฟฟ้า ณ จุดใด ๆ ที่สนามส่งไปถึงจะมีค่าของสนามเท่ากัน ส่วนความเข้มของสนามหาได้จาก E = Kq/r2 ดังนั้นข้อที่ถูกคือข้อ ง.



ข้อ 48 ตอบ 1. 2.5 Hz
   จากโจทย์ที่อ่านนะครับ บางคนตกใจแล้วคิดว่าเป็นการเคลื่อนที่แน่นอนเลย แต่ก็ไม่เป็นอย่างที่คิดแค่การหาความถี่ของคลื่นนั้นเอง ลองอ่านเรื่องความถี่ดี ๆ นะครับ ก็จะรู้ว่า ความถี่หาได้จากจำนวนรอบหารด้วยเวลานั่นเองครับ เพราะฉะนั้นคำตอบคือ 2.5 Hz ครับ ไม่ยากเลยนะครับ  คำตอบคือข้อ ก.


ข้อ 49 ตอบ 2. ความยาวคลื่นในน้ำลึกมากกว่าความยาวคลื่นในน้ำตื้น
   คือสมบัติการหักเหนั่นเองครับดังนี้  (เมื่อคลื่นเคลื่อนผ่านตัวกลางต่างชนิดกันจะทำให้ความเร็วของคลื่นและความยาวคลื่นเปลี่ยนแปลงแต่ความถี่คงเดิม โดยพบว่าคลื่นเคลื่อนที่ในทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อของตัวกลางโดยความเร็วคลื่น ความยาวคลื่นเปลี่ยน)   แล้วเราลองมาวิเคราะห์แต่ละข้อ
ก. อัตราเร็วคลื่นในน้ำลึกน้อยกว่าอัตราเร็วคลื่นในน้ำตื้น (น้ำลึกมีความหนาแน่นมากกว่าดังนั้นตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่าย่อมมีอัตราเร็วในตัวกลางมากกว่าครับ) ดังนั้นข้อนี้ผิด
ข.ความยาวคลื่นในน้ำลึกมากกว่าความยาวในน้ำตื้น (จากความหมายของการหักเห และตามสมการ v=λf เมื่อความถี่คงที่ น้ำลึกจะมี อัตราเร็วกว่าน้ำตื้นดังนั้นความยาวคลื่นน้ำลึกย่อมยาวกว่าน้ำตื้น) ดังข้อนี้ถูกต้อง
ส่วนข้อ ค. และ ข้อ ง. เป็นดังที่กล่าวมาแล้วคือ ความถี่คงที่ดังนั้นทั้งสองข้อจึงผิด




ข้อ 62 ตอบ 3. 4.0 m/s
โดยการหาค่าเฉลี่ยเช่นเดี่ยวกับพีชคณิตทั่วไปเนื่องจากเป็นปริมาณสเกลาร์
 เมื่อ v1 = 6 m/s , v2 = 5 m/s , v3 = 1 m/s และเวลา  3 นาที ตัวเลขที่หารในที่นี้เป็นจำนวนครั้งนะครับ
                                                   จะได้    อัตราเร็วเฉลี่ย  =  (6+5+1)/3
                                                   อัตราเร็วเฉลี่ย  = 4.0 เมตรต่อวินาที  
                         ดังนั้นคำตอบคือข้อ ค.



ข้อ 63 ตอบ 2. 65 km
      ตอบ 65 กิโลเมตรครับ หรือนักเรียนลองจำง่าย ๆ คือ ระยะทางคือระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ทั้งหมด ณ เวลานั้น ๆ ส่วนระยะกระจัดคือทางลัด หรือระยะทางที่สั้นที่สุดที่วัตถุนั้นเคลื่อนที่วัดจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้ายเป็นเส้นตรงนะครับ  ดังนั้นคำตอบคือข้อ ข.




ข้อ 64 ตอบ 3. 08.30 น.
      เราสามารถใช้สูตรการเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ได้เลย

                      เมื่อ   v = 80 km/hr ,  s = 200 km , t = ? hr         
                       จะได้   80 = 200/t


ข้อ 65 ตอบ 3. Aและ B มีประจุบวก แต่ C มีประจุลบ
กรณีที่ 1 A และ B เป็น ลบ จะได้ C เป็น บวก


ข้อ 66. ตอบ 2. ความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ
วัตถุหล่นจากที่สูงด้วยความเร่งคงที่ คือ ค่าของ g เพราะฉะนั้น ความเร็วที่เกิดขึ้นก็ควรที่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามความหมายของความเร่งนั่นเอง ดังนั้นคำตอบคือข้อ ข.


ข้อ 67 ตอบ 1. 0.5 s
โจทย์ให้ ความเร็วต้น คือ u = 4.9 m/s
ณ จุดสูงสุดเรารู้ค่าของความเร็วปลาย คือ v = 0 m/s
ค่าของความเร่งคือค่าของ g มีค่าเป็นลบเนื่องจากเคลื่อนที่ตรงข้ามกับ u มีค่า g = - 10 m/s2
โจทย์ต้องการหาค่าของ เวลาคือค่าของ t
เพราะฉะนั้นสิ่งที่เรารู้          u = 4.9 m/s , v = 0 m/s , g = -10 m/s2 , t = ? s
เราสารมารถใช้ สูตร                 v = u + gt
จะได้                                0 = 4.9 + (-10)t
t = 0.49 s
ดังนั้นคำตอบคือข้อ ก. 0.5 วินาที


ข้อ 68. ตอบ 3. มีค่าเท่ากับอัตราเร็วแนวราบเมื่อเริ่มเคลื่อนที่
ณ จุดสูงสุดของการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ จะได้ปริมาณต่าง ๆ ในแนวดิ่ง ดังนี้ ความเร่งเท่ากับ
g ความเร็วมีค่าเท่ากับ 0 เมตรต่อวินาที  ดังนั้นคำตอบคือข้อ ค.
กรณีที่ 2 A และ B เป็น บวก จะได้ C เป็นลบ
จะเห็นได้ว่า ข้อ ค. ถูกต้อง
3. ถ้ามีอนุภาคมีประจุไฟฟ้า +q อยู่ในสนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นคู่ขนานดังรูป ถ้าเดิมอนุภาคอยู่นิ่ง ต่อมาอนุภาคจะเคลื่อนที่อย่างไร

ก. ทิศ +X ด้วยความเร่ง
ข. ทิศ -X ด้วยความเร่ง
ค. ทิศ +Y ด้วยความเร่ง
ง. ทิศ -Y ด้วยความเร่ง
แนวคำตอบ จากเหตุผลข้อที่ 1 ที่บอกว่า ประจุต่างกัน ดูดกัน ประจุเหมือนกัน ผลักกันครับ ดังนั้นคำตอบคือ ข้อ ง.
t  = 2.5 ชั่วโมง
ดังนั้นคำตอบคือข้อ ค.
ก. มีค่าเป็นศูนย์
ข. มีอัตราเร็วแนวราบเป็นศูนย์
ค. มีค่าเท่ากับอัตราเร็วแนวราบเมื่อเริ่มเคลื่อนที่
ง. มีค่าเท่ากับอัตราเร็วเมื่อเริ่มเคลื่อนที่
แนวคำตอบ จากตัวเลือกที่ให้มานั้น
ข้อ ก. มีค่าเป็นศูนย์ บอกไม่ชัดเจนว่าเป็นการเคลื่อนที่ในแนวราบหรือแนวดิ่ง
ข้อ ข. อัตราเร็วแนวราบไม่เป็นศูนย์ครับ อัตราเร็วแนวราบเท่ากับอัตราเร็วเริ่มต้น
ข้อ ค. ข้อนี้ถูกต้องที่สุดครับ ถ้าคิดในแนวราบอัตราเร็วในแนวราบที่ตำแหน่งสูงสุดจะมีค่าเท่ากับอัตราเร็วเริ่มต้นครับ
ข้อ ง. อัตราเร็วในที่นี้ไม่ได้ระบุว่าเป็นแนวราบหรือแนวดิ่ง ดังนั้นถ้าพูดถึงอัตราเร็วแนวราบจะเท่ากับอัตราเร็วเริ่มต้น แต่ถ้าพูดถึงอัตราเร็วในแนวดิ่งจะมีค่าเป็นศูนย์

2 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ30 มกราคม 2554 เวลา 21:42

    ตรวจงานท้ายชั่วโมง

    ตอบลบ
  2. คะแนนตัวเอง
    1. ทำครบตามที่กำหนด ข้อละ 2 คะแนน = 19 คะแนน
    2. มีเฉลยให้ข้อละ 1 คะแนน = 18 คะแนน
    3. บอกที่มาของแหล่งข้อมูล ให้ 2 คะแนน( URL) = 0 คะแนน
    4. วิเคราะห์ข้อมูล สืบค้นได้ตรงประเด็นให้คะแนนตั้งแต่ 1 - 5 คะแนนตามความเหมาะสม = 70 คะแนน

    รวม 107 คะแนน

    ตอบลบ